คจ.คส. ตั้งวงถกผลกระทบ CPTPP ต่อ “การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ” นักวิชาการกังวลข้อตกลงฯ ปิดทางประเทศใช้มาตรการ “ขอชดเชย” สินค้าที่อาจไม่ได้ใช้ประโยชน์ในระยะยาว ที่ประชุมหวั่นต่างชาติรุกตลาดภาครัฐ-ลดศักยภาพการแข่งขัน “สินค้า-บริการ-ยา” ของผู้ประกอบการไทย
สวัสดีครับ... วิกฤตเศรษฐกิจ สังคม การเมืองของประเทศ และความตื่นตัวข้อกำหนดอนาคตและแก้วิกฤตประเทศของเยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนคนรุ่นใหม่ สอดคล้องกับธีมงานหรือประเด็นหลักของงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ ๑๓ ที่กำหนดไว้ว่า “พลังพลเมืองตื่นรู้ สู้วิกฤตสุขภาพ” ผมจึงอยากชวนเพื่อนภาคีเครือข่ายคุยเรื่องความเป็นพลเมืองตื่นรู้ และความสำคัญที่ประเทศต้องมีและทุกภาคส่วนต้องสนับสนุนให้เกิดพลเมืองตื่นรู้ให้เต็มพื้นที่
สช. ชวนเยาวชน 5 ประเทศ ร่วมเสวนาออนไลน์ถอดบทเรียนการทำงานสู้โควิด-19 บนพลังการมีส่วนร่วม พบ “เทคโนโลยี-ประสานเครือข่าย-หาเป้าหมายร่วม” คือ เครื่องมือสำคัญของเยาวชนในการรับมือกับปัญหา
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) จัดเสวนาออนไลน์ (Webinar) ในหัวข้อ “The Role of Young Generation in Multi-Sectoral Collaboration against COVID-19” เมื่อปลายเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา เพื่อบอกเล่าถึงบทบาทของภาคเยาวชนและความร่วมมือกับหลายภาคส่วน ในการต่อสู้กับโควิด-19 โดยมีตัวแทนเยาวชนจาก 5 ประเทศ ได้แก่ ไทย บังคลาเทศ ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และเมียนมาร์ ร่วมพูดคุย
“ไทยเป็นอันดับ 1 ของโลกในการป้องกันโควิด-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ...แต่โควิด-19 ยังต้องอยู่คู่กับโลกอีกนาน ดังนั้น การประชุมครั้งนี้ นอกจากเป็นการสรุปการทำงานที่ผ่านมาแล้ว ยังเป็นการหารือเพื่อหาทางเดินต่อไปข้างหน้า เตรียมการรองรับวิกฤตเศรษฐกิจ หรือแม้แต่การแพร่ระบาดระลอกใหม่”
นพ.สำเริง แหยงกระโทก ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงสาธารณสุข กล่าวตอนหนึ่งในการประชุมผู้บริหารหน่วยงานภาคีด้านปกครอง สาธารณสุขและสังคม ภายใต้แผนงาน “รวมพลังพลเมืองตื่นรู้ ช่วยชาติสู้ภัยโควิด-19” จัดขึ้นที่อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ 3 กันยายน ที่ผ่านมา
สช. ระดม 3 ภาคส่วน “รัฐ-วิชาการ-ประชาชน” ถอดบทเรียนมาตรการชุมชน “สู้ภัยโควิด-19” พร้อมต่อยอดการมีส่วนร่วมสู่การขับเคลื่อน “ธรรมนูญสุขภาพระดับเขต” กทม. เป็นครั้งแรก ผสานกลไก พชข.-กองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ปั้นสุขภาวะคนกรุง