Grid posts | สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

‘การตายดี’ สิทธิที่ทุกคนต้องเข้าถึง

   “ในการทำงาน การที่หมอส่วนใหญ่ไม่ได้รับการอบรมเรื่องการดูแลแบบประคับประคอง (palliative care) สำหรับผู้ป่วยระยะท้าย ไม่ค่อยมีในหลักสูตรแพทยศาสตร์ในโรงเรียนแพทย์ว่าผู้ป่วยแบบไหนคือผู้ป่วยระยะท้าย หมออาจไม่เข้าใจ จึงต้องมีคำจำกัดความถึงผู้ป่วยลักษณะนี้ ว่าการอยู่ในระยะท้าย หมายถึงการมีชีวิตอยู่ได้อีกกี่เดือน หมอจะได้ตระหนักว่านี่คือ palliative แล้วส่งผู้ป่วยเข้ารับบริการซึ่งเป็นประโยชน์ต่อตัวเขาเอง”
 

หัวใจการขับเคลื่อนนโยบายผ่านกลไก ‘4PW’

   ที่ประชุมถ่ายทอดประสบการณ์ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะผ่านกลไก 4PW พื้นที่ ก่อนจะสรุป “หัวใจความสำเร็จ” 4 ประการ ‘เปิดพื้นที่กลาง-สร้างประเด็นร่วม-ใช้ความรู้นำ-เคลื่อนเป็นขบวน’
 
   เพียง 2 ปี (2560-2562) ที่สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ได้เสริมพลังขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะระดับพื้นที่ ภายใต้กลไก “คณะทำงาน 4PW ระดับจังหวัด” เกิดผลสัมฤทธิ์เป็นรูปธรรมการขึ้นรูปของประเด็นต่างๆ 82 พื้นที่ทั่วประเทศ รวม 237 ประเด็น
 

หน่วยงานยังมอง ‘นโยบายสาธารณะ’ เป็นแค่ทางเลือก

   สช. เปิดวงสรุปบทเรียนขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ผ่านกลไก 4PW ระดับพื้นที่ พบทั้งโอกาสและข้อจำกัดการขับเคลื่อนนโยบายหลายด้าน ที่จะนำไปสู่การสร้างสุขภาวะของคนในจังหวัด พร้อมเสนอยกระดับจากประเด็น “ทางเลือก” สู่ประเด็นร่วมในระดับจังหวัดและชาติต่อไป
 

เร่งยกระดับระบบบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ อนุทิน หนุนตั้งเป้าบริจาคอวัยวะเพิ่มเท่าตัว

   วันที่ 16 ตุลาคม นี้ ณ ห้องประชุม 301 ตึกบัญชาการ 1 ทำเนียบรัฐบาล นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เป็นประธานการประชุมคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (คสช.) ครั้งที่ 4/2562 ในช่วงแรก หลังจากนั้นได้มอบให้ นายสาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธานการประชุมต่อ ที่ประชุมมีมติเห็นชอบให้ตั้งคณะทำงานจากภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อจัดทำข้อเสนอการพัฒนานโยบายและระบบรับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะของไทย เล็งเพิ่มยอดการบริจาคอวัยวะและปลูกถ่ายไตอีกเท่าตัว
 

‘แลกเปลี่ยนเรียนรู้’ ‘เชื้อดื้อยา-ยุงลาย-ฆ่าตัวตาย’

   เมื่อสุขภาพเป็นสิ่งที่รอไม่ได้ ซ้ำปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่แปรเปลี่ยน ส่งผลให้เชื้อโรคและปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ เช่น ฝุ่น หมอกควัน เกิดขึ้นอย่างมากมาย การแพทย์และระบบสาธารณสุขไทยจึงต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การควบคุม-ป้องกัน-รักษา-ฟื้นฟู ให้มีประสิทธิภาพเท่าทัน จำต้องมีการสานพลังทุกภาคส่วนมาร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง และครอบคลุมทุกประเด็นที่เห็นพ้องต้องกันว่าจะต้องเร่งพัฒนา
 

‘สุขภาวะสังคมสูงวัย’ ต้องทำเป็นอันดับหนึ่ง

   แม้ พ.ร.บ. สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 จะประกาศใช้มาแล้วเกือบ 12 ปีเต็ม และที่ผ่านมา สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ก็ได้ทำหน้าที่เป็นแกนกลางในการสานพลังภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน
เข้ามาร่วมจัดทำนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมมาโดยตลอด ยกตัวอย่าง การจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ 11 ครั้ง ซึ่งเกิดเป็นมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติมากถึง 81 มติ เป็นต้น แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าประเทศไทยยังมีปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ “สุขภาวะทางสังคม” อีกเป็นจำนวนมาก